ชาวพุทธคือ ผู้ที่เลื่อมใสและศรัทธาในพระพุทธศาสนา
โดยประกาศตนเป็นพุทธมามกะ ประกอบด้วย นักบวช คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
โดยเรียกรวมๆว่า พุทธบริษัท 4 ซึ่งสามารถแยกออกเป็น 2 กลุ่ม 1.
กลุ่มสงฆ์
แยกเป็น พระภิ อ่านเพิ่มเติม
วันเสาร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2559
พุทธศาสนสุภาษิต
สุภาษิต แปลว่า ถ้อยคำที่กล่าวไว้ดี (สุ=ดี, ภาษิต=กล่าว) สามารถนำมาเป็นคติ
ยึดถือเป็นหลักใจได้พุทธศาสนสุภาษิต
หมายถึง
ถ้อยคำดีๆ ในพระพุทธศาสนา แต่มิได้หมายความเฉพาะคำที่พระพุทธองค์ตรัสไว้เท่านั้น
แม้สุภาษิตแทบทั้งหมดจะเป็นพระพุทธพจน์ก็ตามเช่น
ถ้าเป็นภาษิตพระสัมมาสัมพุทธตรัสเอง เรียกว่า พุ อ่านเพิ่มเติม
การบริหารจิต
การบริหารจิต พระพุทธศาสนาเน้นเรื่องการฝึกจิตเป็นสำคัญ
เพราะมนุษย์มีจิตเป็นตัวนำการ กระทำทุกอย่าง จะต้องมีการพิจารณา
คิดนึกตรึกตรองเสียก่อน การฝึกจิตหรือการบริหารจิต
จึงเป็นการกระทำเพื่อให้จิตมีสภาพตั้งมั่น มีสติระลึกได้
มีสัมปชัญญะรู้สึกตัวทั่วพร้อมต อ่านเพิ่มเติม
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก (บาลี: Tipiṭaka; สันสกฤต: त्रिपिटक) เป็นคัมภีร์ที่บันทึกคำสอนของพระโคตมพุทธเจ้า[1]
ไตรปิฎก
แปลว่า ตะกร้า 3 ใบ เพราะเนื้อหาแบ่งเป็น 3 หมวดใหญ่ ๆ คือพระวินัยปิฎก
ว่าด้วยพระวินัยสิกขาบทต่าง ๆ ของภิกษุและภิกษุณีพระสุตตันตปิฎก
ว่าด้วยพระสูตรซึ่งเป็นพระธรรมเทศนาของพระโคตมพุ อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2559
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย หรือพระไตรรัตน์ หมายถึง แก้วสามประการอันประเสริฐสุดของพุทธศาสนิกชน[1] ที่เรียกว่า รัตน (แก้ว)
เพราะว่าเป็นสิ่งที่ประเสริฐ มีค่าสูง และหาได้ยาก เทียบด้วยดวงแก้วมณีพระรัตนตรัย คือ พระพุทธเจ้า, พระธรรม และพระสงฆ์ ซึ่งเรียกเต็มว่าพุทธรัตนะ, ธรรมรัตนะ,
สังฆรัตนะ
ซึ่ อ่านเพิ่มเติม
อริยสัจ 4
อริยสัจ หรือจตุราริยสัจ หรืออริยสัจ 4 เป็นหลักคำสอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระอริยบุคคล หรือความจริงที่ทำให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ
มีอยู่สี่ประการ คือทุกข์ สภาพที่ทนได้ยาก ภาวะที่ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ สภาพที่บีบคั้น
ได้แก่ ช อ่านเพิ่มเติม
ศาสนพิธี
ศาสนพิธี คือ พิธีกรรมหรือระเบียบแบบแผนต่างๆที่ดีงาม
ที่พึงปฏิบัติในทางพระศาสนา ซึ่งเปรียบเสมือนเครื่องห่อหุ้มศาสนาไว้ไห้
ศาสนิกชนทั่วไปได้เห็นและปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ซึ่งจะทำให้พิธีกรรมต่างๆ
ที่ประกอบขึ้นเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงาม เป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใสศรัทธ อ่านเพิ่มเติม
สมัยก่อนพระพุทธเจ้า
ในสมัยพุทธกาล อินเดียหรือชมพูทวีป แบ่งอาณาเขตเป็น 2 เขตคือเขตภาคกลาง
เรียกว่า มัชฉิมชนบทหรือมัธยมประเทศ เป็นที่อยู่ของชนชาติอริยกะ หรืออารยัน แปลว่า
ผู้เจริญเป็นดินแดนของชนผิวขาวเขตรอบนอก เรียกว่า ประจันตชนบทหรือประจันตประเทศ
คือ ประเทศปลายเขตเป็นที่อยู่ของชนช อ่านเพิ่มเติม
พุทธประวัติ
พุทธประวัติ คือ ประวัติของพระพุทธเจ้า, เรื่องราวต่าง ๆ ของพระพุทธเจ้า ตลอดถึงเรื่องราวต่างของบุคคลและสถานที่ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าพุทธประวัติที่เป็นหนังสือหรือตำรา นอกจากจะมีเนื้อหาที่ประวัติของพระพุทธเจ้าแล้ว ยังมีเนื้อหาที่เป็นประวัติพระส อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2559
ชาดก
คำว่า ชาตก หรือ ชาดก แปลว่า ผู้เกิด มีรากคำมาจากธาตุ (Root) ว่า ชนฺ
แปลว่า “เกิด” แปลง ชนฺ ธาตุเป็นชา ลง ต ปัจจัยในกิริยากิตก์ ต
ปัจจัยตัวนี้กำหนดให้แปลว่า “แล้ว” มีรูปคำเป็น “ชาต” แปลว่า
เกิดแล้ว เสร็จแล้วให้ลง ก ปัจจัยต่อท้ายอีกสำเร็จรูปเป็น “ชาดก” อ่านออกเสียงต อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)